ผมเชื่อว่า พี่น้องคงเคยอ่านเรื่องของอุปมาแกะหาย (The Parable of The Lost Sheep) กันมาหลายต่อหลายครั้งแล้ว ไม่เพียงเท่านั้น ผมยังเชื่ออีกว่า พี่น้องคงเคยได้ยินศิษยาภิบาล พี่เลี้ยง หรือผู้นำที่คริสตจักรแบ่งปันเรื่องนี้ เพิ่มเติมซ้ำเข้าไปอีกหลายครั้ง วันนี้ตอนผมใคร่ครวญ (meditate) พระคำตอนนี้ พระวิญญาณบริสุทธิ์ได้สำแดงให้ผมเกิดความเข้าใจในพระคัมภีร์ตอนนี้ ในมุมที่ผมไม่เคยมองเห็น และไม่เคยเข้าใจมาก่อน ผมเลยอยากแบ่งปันการสำแดงนี้ กับพวกเราทุกๆ คน เพื่อที่พวกเรา จะได้รับการหนุนจิตชูใจ จากพระวจนะของพระเจ้าร่วมกัน
คำสอนที่ผมเคยได้ยิน และได้ถูกสอนมา ผ่านอุปมานี้ ก็คือ อุปมานี้ พูดถึงการที่พระเจ้ามาช่วยคนบาปให้ได้รับความรอด แกะที่หายไปจากฝูงเล็งถึง คนไม่เชื่อ ผู้เลี้ยงแกะ เล็งถึงพระเยซูคริสต์ พระเยซูเสด็จมาช่วยคนบาปให้ได้รับความรอด
เหตุผลหนึ่ง ที่ทำให้เชื่อได้ว่า ทำไมเวลาที่คนสอนพระคัมภีร์ตอนนี้ มักจะใช้พระคัมภีร์ตอนนี้ อ้างอิงถึงคนไม่เชื่อ ก็เพราะในตอนท้ายของอุปมาแกะหายนี้ พระเยซูได้กล่าวถึง "คนบาป" และ "การกลับใจใหม่" ผู้สอนพระคัมภีร์หลายๆ ท่าน จึงฟันธงทันที ว่าอุปมานี้ พระเยซูพูดถึง คนไม่เชื่อ (Non Believers)
ครั้งแรกที่ผมได้ยินคำสอน เรื่องของแกะที่หายไป ตอนเป็นผู้เชื่อใหม่ จิตใจผมได้รับการหนุนจิตชูใจเป็นอย่างมาก เปี่ยมไปด้วยความชื่นชมยินดี จิตใจรู้สึกมั่นคงภายในอย่างไม่อาจบรรยายออกมาเป็นคำพูดได้ ว่าพระเจ้ารักเรา และพระเยซูคริสต์เสด็จมาช่วยกู้เราออกจากความบาป และโทษทัณฑ์ของความบาป
แต่คนๆ เดียวกัน ที่สอนคำสอนเรื่องของแกะที่หายไปกับผม ยังสอนผมต่อไปอีก ถึงเรื่องการสูญเสียความรอด ว่าพระเยซูมาไถ่เราออกจากความบาป หลังจากที่เรารับเชื่อแล้ว เราต้อง maintain และรักษาความรอดที่เราได้รับมา ผ่านการอธิษฐาน เฝ้าเดี่ยว เข้าร่วมกลุ่มสามัคคีธรรม ไปคริสตจักร และการรับใช้พระเจ้า
สิ่งเหล่านั้นที่กล่าวมา ล้วนแล้วแต่เป็นสิ่งที่ดี และช่วยให้เราเติบโตขึ้นในความรู้เกี่ยวกับพระเจ้า แต่ประเด็น ที่เป็นปัญหา ก็คือตัวเรา ในความเป็นจริงแล้ว ไม่มีใคร ที่จะเข้มแข็ง เป็นคริสเตียนที่เป๊ะตลอดเวลา เราทุกคนล้วนแล้วแต่มีจุดอ่อนไหวด้วยกันทั้งสิ้น มีบางเวลาที่เรารู้สึกเข้มแข็ง และก็มีบางเวลาที่เราผิดพลาดและอ่อนแอ
อัครทูตเปโตร ผู้ซึ่งเป็นหนึ่งในสาวกไข่แดง 1 ใน 3 ของพระเยซู ครั้งหนึ่งเขาเคยบอกกับพระเยซู ว่าต่อให้สาวกทุกคน ละทิ้งพระองค์ไป เขาจะไม่ทิ้งพระองค์ เขายินดีที่จะตายเพื่อพระองค์ (มธ 26:33-35) สิ่งที่ตามมาก็คือ ภายในเวลาไม่ถึง 24 ชั่วโมง เปโตรได้ปฏิเสธพระเยซูถึง 3 ครั้ง จริงๆ แล้วในพระคัมภีร์ต้นฉบับภาษากรีก บอกกับเราว่า เขาไม่เพียงแต่ปฏิเสธไม่รู้จักพระองค์ เขายังสบถสาบาน และแช่งสาปพระองค์ด้วย ในพระคัมภีร์ภาษาอังกฤษ ฉบับแปล New King James ถ่ายทอดความหมายภาษากรีกออกมาได้ดีกว่าในฉบับแปลภาษาไทยของเรา
มธ 26:74 เปโตรก็สบถสาบานใหญ่ว่า "ข้าไม่รู้จักคนนั้น" ในทันใดนั้นไก่ก็ขัน
Matt 26:74 Then he began to curse and swear, saying, "I do not know the Man!" And immediately a rooster crowed. (NKJ)
ลก 15:3-7
3 พระองค์จึงตรัสคำเปรียบให้เขาฟังดังต่อไปนี้ว่า
4 ''ในพวกท่านมีคนใดที่มีแกะร้อยตัว และตัวหนึ่งหายไป จะไม่ละเก้าสิบเก้าตัวนั้นไว้ที่กลางทุ่งหญ้า
และไปเที่ยวหาตัวที่หายไปนั้นจนกว่าจะได้พบหรือ
5 เมื่อพบแล้วเขาก็ยกขึ้นใส่บ่าแบกมาด้วยความเปรมปรีดิ์
6 เมื่อมาถึงบ้านแล้ว จึงเชิญพวกมิตรสหายและเพื่อนบ้านให้มาพร้อมกัน พูดกับเขาว่า
'จงเปรมปรีดิ์กับข้าพเจ้าเถิด เพราะข้าพเจ้าได้พบแกะของข้าพเจ้าที่หายไปนั้นแล้ว'
7 เราบอกท่านทั้งหลายว่า เช่นนั้นแหละ จะมีความปรีดีในสวรรค์ เพราะคนบาปคนเดียวที่กลับใจใหม่
มากกว่าเพราะคนชอบธรรมเก้าสิบเก้าคนที่ไม่ต้องการกลับใจใหม่
หลัก Deresh คือหลักใหญ่ เป็นหัวใจในการตีความพระคัมภีร์ เพื่อจะเขียนเป็นคำสอนขึ้นมา และใช้สอนผู้อื่นต่อ หลัก Deresh สอนว่า การที่เราจะตีความหมายของพระคัมภีร์ตอนใดตอนหนึ่งออกมา พระคัมภีร์ตอนนั้น จะต้องไม่ไปขัดแย้ง กับพระคัมภีร์ในตอนอื่นๆ พูดให้เข้าใจง่ายๆ ก็คือ การตีความพระคัมภีร์ จะต้อง consistent คงเส้นคงวา สอดคล้องเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน
และวันนี้ผมอยากใช้หลัก Deresh หรือ Midrash นี้ ในการตีความหมายของอุปมาแกะที่หายไป ในพระธรรมลูกาบทที่ 15 นี้
พี่น้องที่รักรู้ไหมครับ ว่าตลอดเล่มพระคัมภีร์ พระเจ้าไม่เคย ไม่เคยเลยสักครั้ง ที่ใช้ภาพของแกะเล็งถึงคนไม่เชื่อ แกะเล็งถึงผู้เชื่อ (Believers) เสมอ แพะถึงจะเล็งถึงคนไม่เชื่อ (Non Believers)
คำว่า "เงิน (money)" ในพระคัมภีร์ภาษาฮีบรู คือคำว่า "Keceph"
อุปมาเรื่องเหรียญเงินที่หายไป ทำไมพระเจ้าต้องระบุว่า เหรียญที่หายไป เป็นเหรียญเงิน (Silver Coin) เหตุผลก็เพราะว่า พระเจ้าต้องการสื่อกับเราว่า พระเจ้ากำลังพูดถึงผู้เชื่อ เหรียญเงินในอุปมาที่สองนี้ เล็งผู้เชื่อที่ได้รับการไถ่แล้ว
Oh Yeah!! มันเกี่ยวอย่างแรงเลยละครับ
ถ้าแกะที่พระเยซูออกตามหา เล็งถึงแค่คนไม่เชื่อ นั่นหมายความว่า พระองค์จะออกตามหาเราครั้งแรกครั้งเดียว เมื่อเรามารับเชื่อแล้ว ทางที่เหลือ ไปจนตลอดเส้นทาง Throughout the entire journey, we are on our own. เราต้อง maintain และรักษาความรอดเอาไว้ ด้วยสุดกำลังความสามารถของเรา
แต่ถ้าความหมายหลักของอุปมานี้ แกะเล็งถึงผู้เชื่อแล้วละก็ ความหมายก็จะต่างออกไปอย่างสิ้นเชิง และถึงตรงนี้ เราก็รู้แล้วว่า แกะในอุปมา เล็งถึงผู้เชื่อ อุปมานี้จึงเกี่ยวข้องกับผู้เชื่อโดยตรง
ทีนี้เราจะมาดูอุปมานี้กันอีกสักรอบ Let's revisit this parable one more time together.
ในอุปมานี้ พระเยซูบอกกับเราว่า มีแกะตัวหนึ่ง ได้หลงหายออกไปจากฝูง จะด้วยเหตุอะไรก็แล้ว พระคัมภีร์ไม่ได้ให้รายละเอียดเอาไว้ แต่ที่ชัดเจน ก็คือ ผู้เลี้ยงในคำอุปมานี้ เล็งถึง พระเยซู
พระเยซูบอกกับเราผ่านอุปมานี้ว่า ไม่ว่าจะด้วยเหตุผลอะไรก็แล้วแต่ ที่ทำให้เราหลงหายออกไปจากฝูง พระเยซูเอง จะเป็นคนออกตามหาเรา พระองค์ไม่ได้ส่งทูตสวรรค์ออกไปตามหาเรา แต่เป็นตัวของพระองค์เอง ที่ออกตามหาเรา
ทำไมต้องเป็นพระองค์เอง? เหตุผล ก็เพราะว่า พระองค์ทรงเป็นผู้เลี้ยงของเรา พระองค์ทรงเป็นผู้เลี้ยงที่ดี ผู้เลี้ยงที่ดี รักแกะ และยินดีสละชีวิตของตน เพื่อแกะ (ยน 10:11)
วันนี้พระเจ้าอยากจะบอกกับท่าน ผ่านทางคำอุปมาแกะที่หลงไปนี้ว่า พระเยซูคริสต์ พระองค์เองจะออกตามหาท่าน ไม่ว่าท่านจะอยู่แห่งหนใด พระองค์จะละแกะอีก 99 ตัว และออกตามหาท่าน พระองค์จะตามหาท่านจนเจอ เช่นเดียวกับผู้เลี้ยงในอุปมานี้ เขาออกตามหา จนเจอแกะน้อยที่หลงหายไปตัวนั้น
พระคัมภีร์บอกกับเราว่า เมื่อพระองค์ทรงพบแกะนั้นแล้ว พระองค์ทรงยกขึ้นใส่บ่า แบกมาด้วยความเปรมปรีดิ์
ฮาเลลูยา พระเยซูยกแกะที่หลงหายไปนั้น ขึ้นบนบ่าของพระองค์ ด้วยความเปรมปรีดิ์ พระคัมภีร์ภาษาอังกฤษใช้คำว่า Rejoicing พระคัมภีร์ตอนนี้ ทำให้ผมซาบซึ้งในความรักที่พระเยซูมีต่อพวกเราพี่น้องคริสเตียนจริงๆ Style ในการตามหาแกะที่หลงหายไป และ restore แกะกลับมาของพระเจ้า เป็นอะไรที่ ฮาเลลูยาจริงๆ ไม่มีใครเหมือนพระองค์จริงๆ พระองค์ทรงทำด้วย ความปิติยินดี พระองค์ไม่ได้ทำด้วยความพิโรธ เหมือนบางคำสอนที่เราเคยได้ยินได้ฟังกันมาแต่อย่างใด
จริงๆ แล้ว ในพันธสัญญาใหม่ ไม่มีการบันทึกเลยสักครั้งเดียว ว่าพระเจ้าทรงพิโรธผู้เชื่อในองค์พระเยซูคริสต์
ทำไมเป็นเช่นนั้น พระเจ้าทรงลดมาตรฐานของพระองค์หรือ? หาเป็นเช่นนั้นไม่ เหตุผล ก็เพราะบนกางเขน พระเยซูได้ทรงรับพระพิโรธของพระเจ้าแทนเรา พระเจ้าทรงทำให้พระองค์ผู้ปราศจากบาป เป็นบาป เพื่อที่เราจะเป็นผู้ชอบธรรมของพระเจ้าในพระองค์
2คร 5:21 เพราะว่าพระเจ้าได้ทรงกระทำพระองค์ผู้ทรงไม่มีบาปให้บาป เพราะเห็นแก่เรา เพื่อเราจะได้เป็นคนชอบธรรมของพระเจ้าทางพระองค์
2 Cor 5:21 For He made Him who knew no sin to be sin for us, that we might become the righteousness of God in Him.
พระเยซูทรงมีความสุข ที่ได้อุ้มท่านขึ้นบนบ่าของพระองค์
บ่า (shoulders) ในพระคัมภีร์ เล็งถึง ฤทธานุภาพ หรือกำลัง พระเยซูบอกกับเราผ่านอุปมานี้ว่า เมื่อเราเป็นผู้เชื่อในพระองค์พระเยซูคริสต์ พระองค์จะแบกเราไป ด้วยฤทธานุภาพของพระองค์
ตรงข้ามกับคำสอนที่เราเคยได้ยินมา ว่าเราต้อง maintain ต้องรักษาความรอดของเราด้วยกำลังเรี่ยวแรง ที่มีอยู่น้อยนิด และมีอยู่อย่างจำกัดของเรา ไปตลอดเส้นทาง เมื่อไหร่ก็ตามที่เราอ่อนแอ ผิดพลาด และล้มเหลว พระเยซูโดยพระองค์เองจะมาพยุงเราออกจากปัญหา มิเพียงเท่านั้น พระองค์จะแบกเราไป ด้วยฤทธิ์อำนาจแห่งพระกำลังของพระองค์ ความมั่นคงแน่นอนในความรอดของเรา จึงไม่ได้ขึ้นอยู่กับกำลังและเรี่ยวแรงของเรา แต่อยู่บนพระกำลังอันไร้ขีดจำกัดของพระเจ้า
ความรอดของเรา จึงขึ้นกับกำลังของพระเจ้า พระองค์ผู้ทรงเริ่มต้นการดีในชีวิตของเรา พระองค์จะทรงเป็นผู้กระทำให้สำเร็จ
พระองค์ไม่ได้แบกเรา เฉพาะเวลาที่เราไม่ผิดพลาด หรือทำตัวดี เชื่อฟัง และอยู่ในฝูง อุปมานี้ เราเห็นว่า แกะตัวนี้ แตกฝูงออกไป พระเยซูทรงแบกแกะตัวนี้ขึ้นบ่าของพระองค์ ไม่ใช่เพราะแกะตัวนี้ ทำตัวดีแต่อย่างใด พระเจ้าไม่ได้รักเรา เฉพาะเวลาที่เราทำตัวดี ไม่ผิดพลาด และเชื่อฟังเท่านั้น พระคัมภีร์บอกกับเราว่า ในเวลาที่เราเป็นคนบาปอยู่นั้น พระคริสต์สิ้นพระชนม์เพื่อเรา (รม 5:8)
ความรักของเรามีเงื่อนไข แต่ความรักของพระเจ้าไม่มี
พระเยซูไม่เพียงแต่แบกเราขึ้นบ่า และพาเราเดินกลับมาด้วยความปรีดี พระคัมภีร์พูดต่อไปว่า เมื่อมาถึงแล้ว ผู้เลี้ยงแกะ จึงเชิญบรรดาญาติสนิทมิตรสหาย และเพื่อนบ้านให้มาพร้อมกัน และพูดกับพวกเขาว่า "จงเปรมปรีดิ์กับข้าพเจ้าเถิด เพราะข้าพเจ้าได้พบแกะของข้าพเจ้าที่หายไปนั้นแล้ว"
แต่คนๆ เดียวกัน ที่สอนคำสอนเรื่องของแกะที่หายไปกับผม ยังสอนผมต่อไปอีก ถึงเรื่องการสูญเสียความรอด ว่าพระเยซูมาไถ่เราออกจากความบาป หลังจากที่เรารับเชื่อแล้ว เราต้อง maintain และรักษาความรอดที่เราได้รับมา ผ่านการอธิษฐาน เฝ้าเดี่ยว เข้าร่วมกลุ่มสามัคคีธรรม ไปคริสตจักร และการรับใช้พระเจ้า
สิ่งเหล่านั้นที่กล่าวมา ล้วนแล้วแต่เป็นสิ่งที่ดี และช่วยให้เราเติบโตขึ้นในความรู้เกี่ยวกับพระเจ้า แต่ประเด็น ที่เป็นปัญหา ก็คือตัวเรา ในความเป็นจริงแล้ว ไม่มีใคร ที่จะเข้มแข็ง เป็นคริสเตียนที่เป๊ะตลอดเวลา เราทุกคนล้วนแล้วแต่มีจุดอ่อนไหวด้วยกันทั้งสิ้น มีบางเวลาที่เรารู้สึกเข้มแข็ง และก็มีบางเวลาที่เราผิดพลาดและอ่อนแอ
อัครทูตเปโตร ผู้ซึ่งเป็นหนึ่งในสาวกไข่แดง 1 ใน 3 ของพระเยซู ครั้งหนึ่งเขาเคยบอกกับพระเยซู ว่าต่อให้สาวกทุกคน ละทิ้งพระองค์ไป เขาจะไม่ทิ้งพระองค์ เขายินดีที่จะตายเพื่อพระองค์ (มธ 26:33-35) สิ่งที่ตามมาก็คือ ภายในเวลาไม่ถึง 24 ชั่วโมง เปโตรได้ปฏิเสธพระเยซูถึง 3 ครั้ง จริงๆ แล้วในพระคัมภีร์ต้นฉบับภาษากรีก บอกกับเราว่า เขาไม่เพียงแต่ปฏิเสธไม่รู้จักพระองค์ เขายังสบถสาบาน และแช่งสาปพระองค์ด้วย ในพระคัมภีร์ภาษาอังกฤษ ฉบับแปล New King James ถ่ายทอดความหมายภาษากรีกออกมาได้ดีกว่าในฉบับแปลภาษาไทยของเรา
มธ 26:74 เปโตรก็สบถสาบานใหญ่ว่า "ข้าไม่รู้จักคนนั้น" ในทันใดนั้นไก่ก็ขัน
Matt 26:74 Then he began to curse and swear, saying, "I do not know the Man!" And immediately a rooster crowed. (NKJ)
ประเด็นที่ผมต้องการจะบอกก็คือ ถ้าเราต้อง maintain ต้องรักษาความรอด ไปด้วยกำลัง และแรงพยายามของเรา เราจะไม่เคยมั่นใจได้เลยว่า ท้ายที่สุด เราจะรอดหรือไม่? เราจะไม่เคยรู้เลยว่า เราจะสูญเสียความรอดไปเมื่อไหร่? และอะไรเป็นเหตุให้เราต้องสูญเสียความรอดไป? การที่เราต้องพยายาม maintain พยุงตัว พยุงความรอดของเราไว้ต่อเนื่องยาวนาน เป็นอะไรที่ไม่ง่ายเลย
บนคำสอนเรื่องการสูญเสียความรอด คนที่เชื่อแล้วตายทันที แบบโจรบนกางเขน เป็นอะไรที่ดูจะง่ายซะกว่า คนที่รับเชื่อตั้งแต่อายุยังน้อย และต้อง maintain และพยุงตัว ผ่านร้อนผ่านหนาว ผ่านการทดสอบ และการทดลองมากมายยาวนาน หลายทศวรรษ
ปรัญชาคำสอนดังกล่าว จะพัฒนาไปสู่ ความรู้สึกว่า พระเจ้าไม่ยุติธรรม และขมขื่นต่อพระองค์ในที่สุด (แม้ว่าเราจะไม่ได้พูดออกมาเป็นคำพูด แต่ความรู้สึก ความคิด ในใจ มันทำให้เราอดคิดไม่ได้) จริงๆ แล้ว ปรัชญาคำสอนดังกล่าว ยังสามารถพัฒนาต่อยอด เป็นอะไรต่อมิอะไรได้อีกมากมาย
คนที่ต้องคอยมองกระจกหลังตลอดเวลา คอยหวาดระแวงตลอดเวลา เพราะเหตุว่า เขาไม่รู้เลยว่า อะไรจะเข้ามาในอีก 24 ชั่วโมงข้างหน้า และอะไรจะทำให้เขาสูญเสียความรอดไป การที่เราต้องดำเนินชีวิต มองกระจกหลังตลอดเวลา เราจะสามารถดำเนินชีวิต ในสันติสุขได้จริงหรือ??
หลายครั้ง เพราะเราไม่เคยคิด ไม่เคยได้ meditate คำสอนดังกล่าวจริงๆ แต่เมื่อไหร่ ที่เรามีโอกาส ได้นั่งลง และ meditate คำสอนดังกล่าวอย่างจริงจัง seriously เราจะรู้ว่า มันเป็นไปไม่ได้เลย ที่เราจะสามารถดำเนินชีวิตในสันติสุข ที่โลกไม่สามารถเข้าใจตามที่พระเยซูทรงตรัสเอาไว้ในพระธรรมยอห์น บทที่ 14
ขอบคุณพระเจ้าสำหรับอุปมาเรื่องของแกะหายนี้ อุปมานี้และในวันนี้ ที่พระเจ้าทรงสำแดงกับผม ทำให้ผมเกิดความเข้าใจ มั่นใจ และเชื่อมั่นในพระเจ้า และในความรักที่พระองค์มีต่อผมเป็นอย่างมาก
ก่อนที่เราจะมา meditate พระคัมภีร์ตอนนี้ เรามาดูข้อพระคัมภีร์กันสักหน่อยนะครับ
ลก 15:3-7
3 พระองค์จึงตรัสคำเปรียบให้เขาฟังดังต่อไปนี้ว่า
4 ''ในพวกท่านมีคนใดที่มีแกะร้อยตัว และตัวหนึ่งหายไป จะไม่ละเก้าสิบเก้าตัวนั้นไว้ที่กลางทุ่งหญ้า
และไปเที่ยวหาตัวที่หายไปนั้นจนกว่าจะได้พบหรือ
5 เมื่อพบแล้วเขาก็ยกขึ้นใส่บ่าแบกมาด้วยความเปรมปรีดิ์
6 เมื่อมาถึงบ้านแล้ว จึงเชิญพวกมิตรสหายและเพื่อนบ้านให้มาพร้อมกัน พูดกับเขาว่า
'จงเปรมปรีดิ์กับข้าพเจ้าเถิด เพราะข้าพเจ้าได้พบแกะของข้าพเจ้าที่หายไปนั้นแล้ว'
7 เราบอกท่านทั้งหลายว่า เช่นนั้นแหละ จะมีความปรีดีในสวรรค์ เพราะคนบาปคนเดียวที่กลับใจใหม่
มากกว่าเพราะคนชอบธรรมเก้าสิบเก้าคนที่ไม่ต้องการกลับใจใหม่
พี่น้องที่รักยิ่งในองค์พระเยซูคริสต์ การจะตีความหมายของพระคัมภีร์ เราไม่สามารถ จะยกข้อพระคัมภีร์ เพียงข้อเดียว หรือตอนเดียว ออกมาสรุปเป็นคำสอน เป็นหลักการ โดยที่ละเลยความหมายของพระคัมภีร์ในตอนอื่นๆ เราจะต้อง be consistent คงเส้นคงวาในการตีความพระคัมภีร์ เพราะพระคัมภีร์จะไม่ขัดแย้งกันเอง ตรงกันข้ามพระคัมภีร์ทั้ง 66 เล่ม สอดคล้องเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน
คนยิวได้สอนถึงหลักการตีความพระคัมภีร์ (Bible Exegesis) 4 หลักด้วยกัน วันนี้ผมขออนุญาต พูดถึงหลักที่เรียกว่า Deresh หรือ Midrash
คนยิวได้สอนถึงหลักการตีความพระคัมภีร์ (Bible Exegesis) 4 หลักด้วยกัน วันนี้ผมขออนุญาต พูดถึงหลักที่เรียกว่า Deresh หรือ Midrash
หลัก Deresh คือหลักใหญ่ เป็นหัวใจในการตีความพระคัมภีร์ เพื่อจะเขียนเป็นคำสอนขึ้นมา และใช้สอนผู้อื่นต่อ หลัก Deresh สอนว่า การที่เราจะตีความหมายของพระคัมภีร์ตอนใดตอนหนึ่งออกมา พระคัมภีร์ตอนนั้น จะต้องไม่ไปขัดแย้ง กับพระคัมภีร์ในตอนอื่นๆ พูดให้เข้าใจง่ายๆ ก็คือ การตีความพระคัมภีร์ จะต้อง consistent คงเส้นคงวา สอดคล้องเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน
และวันนี้ผมอยากใช้หลัก Deresh หรือ Midrash นี้ ในการตีความหมายของอุปมาแกะที่หายไป ในพระธรรมลูกาบทที่ 15 นี้
พี่น้องที่รักรู้ไหมครับ ว่าตลอดเล่มพระคัมภีร์ พระเจ้าไม่เคย ไม่เคยเลยสักครั้ง ที่ใช้ภาพของแกะเล็งถึงคนไม่เชื่อ แกะเล็งถึงผู้เชื่อ (Believers) เสมอ แพะถึงจะเล็งถึงคนไม่เชื่อ (Non Believers)
บนหลัก Deresh ของคนยิว ความหมายหลักของอุปมานี้ ไม่ได้เล็งถึงคนไม่เชื่อ ตรงกันข้าม อุปมานี้พูดถึง "ผู้เชื่อ" เพราะภาพของแกะไม่เคย ถูกนำมาใช้เล็งถึงคนไม่เชื่อเลยในตลอดเล่มพระคัมภีร์
ความหมายหลักของอุปมานี้ จึงไม่ได้สื่อความหมายถึง การที่พระเยซูเสด็จมาไถ่ มาช่วยเหลือคนบาป แต่อย่างใด แต่พูดถึงการที่พระเจ้า ช่วยเหลือ ผู้เชื่อที่หลงหายไป
คำถาม ถ้าเช่นนั้น เราสามารถใช้ข้อพระคัมภีร์ในตอนนี้ พูดถึงการที่พระเยซูมาช่วยเหลือ มาไถ่บาป คนไม่เชื่อได้หรือไม่?
คำตอบ ใช้ได้ โดยถือเป็นความหมายรอง เพราะการตีความดังกล่าว ในความหมายรอง ไม่ได้ขัดแย้ง กับเนื้อหาหรือใจความหลัก ในภาพใหญ่ของพระคัมภีร์ โดยเฉพาะในพันธสัญญาใหม่ ที่ว่าด้วยการเสด็จมาไถ่บาปมนุษย์ทุกคนขององค์พระเยซูคริสต์ ไม่ว่าคนๆ นั้น จะเป็นยิวหรือคนต่างชาติก็ตาม ด้วยเหตุนี้ จึงไม่ได้ถือว่าผิดอะไร เพราะไม่ได้ขัดแย้งกับภาพใหญ่ แต่เราเพียงต้องรู้ว่า การตีความแบบนี้ เป็นการตีความในความหมายรองของพระคัมภีร์ในตอนนี้
หลักใหญ่ใจความก็คือ เราต้องรู้ว่า อะไรคือความหมายหลัก และอะไรคือความหมายรอง ของข้อพระคัมภีร์ ที่เรานำมาใช้
วันนี้เราจะมาตีความพระคัมภีร์ตอนนี้ ตามความหมายหลักกัน
เนื้อหาหลักของอุปมานี้ พระเยซูพูดถึง ผู้เชื่อ ที่หลงหายออกไปและพระองค์ทรงไปพาเขากลับมา
คำถาม ถ้าเช่นนั้น เราสามารถใช้ข้อพระคัมภีร์ในตอนนี้ พูดถึงการที่พระเยซูมาช่วยเหลือ มาไถ่บาป คนไม่เชื่อได้หรือไม่?
คำตอบ ใช้ได้ โดยถือเป็นความหมายรอง เพราะการตีความดังกล่าว ในความหมายรอง ไม่ได้ขัดแย้ง กับเนื้อหาหรือใจความหลัก ในภาพใหญ่ของพระคัมภีร์ โดยเฉพาะในพันธสัญญาใหม่ ที่ว่าด้วยการเสด็จมาไถ่บาปมนุษย์ทุกคนขององค์พระเยซูคริสต์ ไม่ว่าคนๆ นั้น จะเป็นยิวหรือคนต่างชาติก็ตาม ด้วยเหตุนี้ จึงไม่ได้ถือว่าผิดอะไร เพราะไม่ได้ขัดแย้งกับภาพใหญ่ แต่เราเพียงต้องรู้ว่า การตีความแบบนี้ เป็นการตีความในความหมายรองของพระคัมภีร์ในตอนนี้
หลักใหญ่ใจความก็คือ เราต้องรู้ว่า อะไรคือความหมายหลัก และอะไรคือความหมายรอง ของข้อพระคัมภีร์ ที่เรานำมาใช้
วันนี้เราจะมาตีความพระคัมภีร์ตอนนี้ ตามความหมายหลักกัน
เนื้อหาหลักของอุปมานี้ พระเยซูพูดถึง ผู้เชื่อ ที่หลงหายออกไปและพระองค์ทรงไปพาเขากลับมา
จริงๆ แล้ว ถ้าเราดูบริบทของพระคัมภีร์ตอนนี้ ก็จะยิ่งชัดเจนขึ้นไปอีก
พระธรรมลูกาบทที่ 15 เป็นบทแห่งอุปมา พระเยซูเล่าอุปมารวดเดียว ทั้งหมด 3 เรื่องด้วยกัน
เรื่องแรก: แกะที่หายไป (The Lost Sheep) ลูกา 15:4-7
เรื่องที่สอง: เหรียญเงินที่หายไป (The Lost Silver Coin) ลูกา 15:8-10
เรื่องที่สาม: บุตรน้อยหลงหาย (The Lost Son or The Prodigal Son) ลูกา 15:11-32
3 อุปมานี้ มีจุดร่วมกันอยู่หลายอย่าง แต่จุดร่วมหนึ่งของทั้ง 3 อุปมา ก็คือ แกะ, เหรียญ หรือบุตร อยู่ในความสัมพันธ์ หรือเป็นของผู้เลี้ยง, หญิง และบิดา
กล่าวคือ...
- แกะเป็นของผู้เลี้ยงอยู่แล้ว แต่เขาหลงออกจากฝูง
- เหรียญเป็นของหญิงแต่หายไป
- บุตรคนเล็ก เป็นลูกของบิดาแต่หลงหายไป เขาไม่ได้เป็นลูกเพราะเขากลับมา ตรงกันข้ามเขาเป็นลูกตั้งแต่ก่อนเขาออกไปแล้ว
- แกะเป็นของผู้เลี้ยงอยู่แล้ว แต่เขาหลงออกจากฝูง
- เหรียญเป็นของหญิงแต่หายไป
- บุตรคนเล็ก เป็นลูกของบิดาแต่หลงหายไป เขาไม่ได้เป็นลูกเพราะเขากลับมา ตรงกันข้ามเขาเป็นลูกตั้งแต่ก่อนเขาออกไปแล้ว
ถ้าเราไม่เชื่อในพระเยซู เราก็ไม่ได้เป็นแกะของพระองค์ แต่เป็นแพะ เรื่องของอุปมาแพะแกะ อีกอุปมาหนึ่ง ที่พระเยซูทรงเป็นผู้เล่า พระองค์ทรงเปรียบผู้เชื่อเป็นแกะ และคนไม่เชื่อเป็นแพะ พระเจ้าไม่เคยเปรียบคนไม่เชื่อเป็นแกะ แกะเล็งถึงผู้เชื่อเสมอในพระคัมภีร์
เรื่องเหรียญเงินที่หายไป ไม่มีเนื้อหาอะไรที่พระเจ้าพูดในพระคัมภีร์และไม่มีความสำคัญ ทุกเนื้อหาที่พระเจ้าใส่ไว้ในพระวจนะของพระองค์ ไม่ใช่เพื่อให้พระคัมภีร์หนาขึ้น หากแต่มีความหมายฝ่ายวิญญาณที่พระเจ้าต้องการจะสื่อสารกับเรา
พี่น้องสังเกตไหมครับว่า พระคัมภีร์ให้รายละเอียดกับเราว่า เหรียญที่หายไปของหญิงคนนี้ เป็นเหรียญเงิน (Silver Coin)
อพย 30:16 จงเก็บเงินค่าไถ่จากชนชาติอิสราเอล และจงกำหนดเงินไว้ใช้จ่ายในเต็นท์นัดพบ
เพื่อพระเจ้าจะได้ทรงระลึกถึงชนชาติอิสราเอล สำหรับการไถ่ชีวิตของเจ้าทั้งหลาย"
Exod 30:16 "And you shall take the atonement money of the children of Israel, and shall appoint it for the service of the tabernacle of meeting, that it may be a memorial for the children of Israel before the LORD, to make atonement for yourselves." (NKJ)
คำว่า "เงิน (money)" ในพระคัมภีร์ภาษาฮีบรู คือคำว่า "Keceph"
Keceph มีความหมายว่า "เงิน (Silver)"
[ในภาษาไทย ดันเป็นคำพ้องรูปพอดี พี่น้องดูคำในภาษาอังกฤษที่ผมใส่ไว้ในวงเล็บนะครับ จะได้เห็นภาพที่ชัดเจน]
"เงิน (silver)" ในพระคัมภีร์เล็งถึง การไถ่บาปเสมอ (Redemption or Atonement) เช่น ตัวอย่างในข้อพระคัมภีร์ข้างบน เงินค่าไถ่บาป (Atonement Money) ต้องเป็นเงิน (Silver) ไม่ใช่ทองคำ หรือทองแดง
[ในภาษาไทย ดันเป็นคำพ้องรูปพอดี พี่น้องดูคำในภาษาอังกฤษที่ผมใส่ไว้ในวงเล็บนะครับ จะได้เห็นภาพที่ชัดเจน]
"เงิน (silver)" ในพระคัมภีร์เล็งถึง การไถ่บาปเสมอ (Redemption or Atonement) เช่น ตัวอย่างในข้อพระคัมภีร์ข้างบน เงินค่าไถ่บาป (Atonement Money) ต้องเป็นเงิน (Silver) ไม่ใช่ทองคำ หรือทองแดง
อุปมาเรื่องเหรียญเงินที่หายไป ทำไมพระเจ้าต้องระบุว่า เหรียญที่หายไป เป็นเหรียญเงิน (Silver Coin) เหตุผลก็เพราะว่า พระเจ้าต้องการสื่อกับเราว่า พระเจ้ากำลังพูดถึงผู้เชื่อ เหรียญเงินในอุปมาที่สองนี้ เล็งผู้เชื่อที่ได้รับการไถ่แล้ว
ยน 1:12 แต่ส่วนบรรดาผู้ที่ต้อนรับพระองค์ ผู้ที่เชื่อในพระนามของพระองค์ พระองค์ก็ทรงประทานสิทธิให้เป็นบุตรของพระเจ้า
สำหรับผู้เชื่อ พระเจ้าทรงประทานสิทธิให้เป็นบุตรของพระเจ้า ชัดเจนคนไม่เชื่อ ไม่ได้รับสิทธิเป็นบุตรของพระเจ้า เฉพาะผู้เชื่อเท่านั้น ถึงได้รับสิทธิเป็นบุตรของพระเจ้า
ชัดเจน เนื้อหาหลักของทั้งสามอุปมา ในพระธรรมลูกาบทที่ 15 พูดถึงผู้เชื่อ (Believers) ไม่ใช่คนไม่เชื่อ (Non Believers) แต่อย่างใด
มันจะเล็งถึงผู้เชื่อ หรือคนไม่เชื่อแล้วยังไง? มันมีประโยชน์ และเกี่ยวข้องอะไรกับเรา?
Oh Yeah!! มันเกี่ยวอย่างแรงเลยละครับ
ถ้าแกะที่พระเยซูออกตามหา เล็งถึงแค่คนไม่เชื่อ นั่นหมายความว่า พระองค์จะออกตามหาเราครั้งแรกครั้งเดียว เมื่อเรามารับเชื่อแล้ว ทางที่เหลือ ไปจนตลอดเส้นทาง Throughout the entire journey, we are on our own. เราต้อง maintain และรักษาความรอดเอาไว้ ด้วยสุดกำลังความสามารถของเรา
แต่ถ้าความหมายหลักของอุปมานี้ แกะเล็งถึงผู้เชื่อแล้วละก็ ความหมายก็จะต่างออกไปอย่างสิ้นเชิง และถึงตรงนี้ เราก็รู้แล้วว่า แกะในอุปมา เล็งถึงผู้เชื่อ อุปมานี้จึงเกี่ยวข้องกับผู้เชื่อโดยตรง
ทีนี้เราจะมาดูอุปมานี้กันอีกสักรอบ Let's revisit this parable one more time together.
ในอุปมานี้ พระเยซูบอกกับเราว่า มีแกะตัวหนึ่ง ได้หลงหายออกไปจากฝูง จะด้วยเหตุอะไรก็แล้ว พระคัมภีร์ไม่ได้ให้รายละเอียดเอาไว้ แต่ที่ชัดเจน ก็คือ ผู้เลี้ยงในคำอุปมานี้ เล็งถึง พระเยซู
พระเยซูบอกกับเราผ่านอุปมานี้ว่า ไม่ว่าจะด้วยเหตุผลอะไรก็แล้วแต่ ที่ทำให้เราหลงหายออกไปจากฝูง พระเยซูเอง จะเป็นคนออกตามหาเรา พระองค์ไม่ได้ส่งทูตสวรรค์ออกไปตามหาเรา แต่เป็นตัวของพระองค์เอง ที่ออกตามหาเรา
ทำไมต้องเป็นพระองค์เอง? เหตุผล ก็เพราะว่า พระองค์ทรงเป็นผู้เลี้ยงของเรา พระองค์ทรงเป็นผู้เลี้ยงที่ดี ผู้เลี้ยงที่ดี รักแกะ และยินดีสละชีวิตของตน เพื่อแกะ (ยน 10:11)
พี่น้องที่รัก ถ้าท่านเป็นผู้เชื่อในองค์พระเยซูคริสต์ และในวันนี้ จะด้วยเหตุผลอะไรก็แล้วแต่ ทำให้ท่าน ได้ผลัดหลงออกไปจากฝูง ออกไปจากชุมชนคริสเตียน ชุมชนของพระเจ้า และหลังจากที่ท่านได้ผลัดหลงออกไปแล้ว ท่านต้องเผชิญกับอุปสรรคปัญหา ภัยอันตรายมากมาย จนท่านรู้สึกราวกับว่า ท่านกำลังอยู่ตัวคนเดียว และต่อสู้แต่เพียงลำพังบนโลกนี้ ไม่มีใครรัก และสนใจท่าน พระเจ้าก็คงไม่รัก และไม่เอาท่านแล้ว เพราะท่านได้ทิ้งพระองค์ไป
วันนี้พระเจ้าอยากจะบอกกับท่าน ผ่านทางคำอุปมาแกะที่หลงไปนี้ว่า พระเยซูคริสต์ พระองค์เองจะออกตามหาท่าน ไม่ว่าท่านจะอยู่แห่งหนใด พระองค์จะละแกะอีก 99 ตัว และออกตามหาท่าน พระองค์จะตามหาท่านจนเจอ เช่นเดียวกับผู้เลี้ยงในอุปมานี้ เขาออกตามหา จนเจอแกะน้อยที่หลงหายไปตัวนั้น
พี่น้องที่รักยิ่งในองค์พระเยซูคริสต์ ถ้าเราเป็นผู้เลี้ยงคนนั้นที่ต้องออกไปตามหาแกะ เมื่อเราเจอแกะตัวนี้แล้ว เราคงจะตำหนิ หรือบางท่าน อาจจะถึงขั้นลงไม้ลงมือ ตีสอนแกะตัวนี้ ให้หลาบจำ แต่ขอบคุณพระเจ้า ผู้เลี้ยงแกะที่ออกตามหาแกะน้อย ที่หลงหายไปตัวนี้ ไม่ใช่ท่านหรือผม แต่เป็นพระเยซูคริสต์
ฮาเลลูยา พระเยซูยกแกะที่หลงหายไปนั้น ขึ้นบนบ่าของพระองค์ ด้วยความเปรมปรีดิ์ พระคัมภีร์ภาษาอังกฤษใช้คำว่า Rejoicing พระคัมภีร์ตอนนี้ ทำให้ผมซาบซึ้งในความรักที่พระเยซูมีต่อพวกเราพี่น้องคริสเตียนจริงๆ Style ในการตามหาแกะที่หลงหายไป และ restore แกะกลับมาของพระเจ้า เป็นอะไรที่ ฮาเลลูยาจริงๆ ไม่มีใครเหมือนพระองค์จริงๆ พระองค์ทรงทำด้วย ความปิติยินดี พระองค์ไม่ได้ทำด้วยความพิโรธ เหมือนบางคำสอนที่เราเคยได้ยินได้ฟังกันมาแต่อย่างใด
จริงๆ แล้ว ในพันธสัญญาใหม่ ไม่มีการบันทึกเลยสักครั้งเดียว ว่าพระเจ้าทรงพิโรธผู้เชื่อในองค์พระเยซูคริสต์
ทำไมเป็นเช่นนั้น พระเจ้าทรงลดมาตรฐานของพระองค์หรือ? หาเป็นเช่นนั้นไม่ เหตุผล ก็เพราะบนกางเขน พระเยซูได้ทรงรับพระพิโรธของพระเจ้าแทนเรา พระเจ้าทรงทำให้พระองค์ผู้ปราศจากบาป เป็นบาป เพื่อที่เราจะเป็นผู้ชอบธรรมของพระเจ้าในพระองค์
2คร 5:21 เพราะว่าพระเจ้าได้ทรงกระทำพระองค์ผู้ทรงไม่มีบาปให้บาป เพราะเห็นแก่เรา เพื่อเราจะได้เป็นคนชอบธรรมของพระเจ้าทางพระองค์
2 Cor 5:21 For He made Him who knew no sin to be sin for us, that we might become the righteousness of God in Him.
พระเยซูทรงมีความสุข ที่ได้อุ้มท่านขึ้นบนบ่าของพระองค์
บ่า (shoulders) ในพระคัมภีร์ เล็งถึง ฤทธานุภาพ หรือกำลัง พระเยซูบอกกับเราผ่านอุปมานี้ว่า เมื่อเราเป็นผู้เชื่อในพระองค์พระเยซูคริสต์ พระองค์จะแบกเราไป ด้วยฤทธานุภาพของพระองค์
ตรงข้ามกับคำสอนที่เราเคยได้ยินมา ว่าเราต้อง maintain ต้องรักษาความรอดของเราด้วยกำลังเรี่ยวแรง ที่มีอยู่น้อยนิด และมีอยู่อย่างจำกัดของเรา ไปตลอดเส้นทาง เมื่อไหร่ก็ตามที่เราอ่อนแอ ผิดพลาด และล้มเหลว พระเยซูโดยพระองค์เองจะมาพยุงเราออกจากปัญหา มิเพียงเท่านั้น พระองค์จะแบกเราไป ด้วยฤทธิ์อำนาจแห่งพระกำลังของพระองค์ ความมั่นคงแน่นอนในความรอดของเรา จึงไม่ได้ขึ้นอยู่กับกำลังและเรี่ยวแรงของเรา แต่อยู่บนพระกำลังอันไร้ขีดจำกัดของพระเจ้า
ความรอดของเรา จึงขึ้นกับกำลังของพระเจ้า พระองค์ผู้ทรงเริ่มต้นการดีในชีวิตของเรา พระองค์จะทรงเป็นผู้กระทำให้สำเร็จ
พระองค์ไม่ได้แบกเรา เฉพาะเวลาที่เราไม่ผิดพลาด หรือทำตัวดี เชื่อฟัง และอยู่ในฝูง อุปมานี้ เราเห็นว่า แกะตัวนี้ แตกฝูงออกไป พระเยซูทรงแบกแกะตัวนี้ขึ้นบ่าของพระองค์ ไม่ใช่เพราะแกะตัวนี้ ทำตัวดีแต่อย่างใด พระเจ้าไม่ได้รักเรา เฉพาะเวลาที่เราทำตัวดี ไม่ผิดพลาด และเชื่อฟังเท่านั้น พระคัมภีร์บอกกับเราว่า ในเวลาที่เราเป็นคนบาปอยู่นั้น พระคริสต์สิ้นพระชนม์เพื่อเรา (รม 5:8)
ความรักของเรามีเงื่อนไข แต่ความรักของพระเจ้าไม่มี
เวลาที่เราอ่อนแอ ขาดกำลัง ผิดพลาด และล้มเหลว พระเยซูทรงยกเราขึ้นบนบ่าของพระองค์ พระองค์ทรงแบกเรา และพาเราเดินไป เพราะความอ่อนแอมีขึ้นที่ไหน เดชของพระเจ้ามีฤทธิ์ขึ้นเต็มขนาดที่นั่น
พระเยซูไม่เพียงแต่แบกเราขึ้นบ่า และพาเราเดินกลับมาด้วยความปรีดี พระคัมภีร์พูดต่อไปว่า เมื่อมาถึงแล้ว ผู้เลี้ยงแกะ จึงเชิญบรรดาญาติสนิทมิตรสหาย และเพื่อนบ้านให้มาพร้อมกัน และพูดกับพวกเขาว่า "จงเปรมปรีดิ์กับข้าพเจ้าเถิด เพราะข้าพเจ้าได้พบแกะของข้าพเจ้าที่หายไปนั้นแล้ว"
ความน่าสนใจอยู่ในข้อ 7 ที่พระเยซูทรงพูดต่อว่า "เราบอกท่านทั้งหลายว่า เช่นนั้นแหละ จะมีความปรีดีในสวรรค์ เพราะคนบาปคนเดียวที่กลับใจใหม่ มากกว่าเพราะคนชอบธรรมเก้าสิบเก้าคนที่ไม่ต้องการกลับใจใหม่"
พี่น้องที่รัก ท่านพอบอกกับผมได้ไหมครับว่า "ตรงไหนในอุปมานี้ ที่บอกกับเราว่าแกะกลับใจใหม่"
เรามา rewind มากรอเทป กลับไปดูภาพเหตุการณ์ทั้งหมดกันอีกสักครั้งนะครับ
ข้อ 4 ผู้เลี้ยงละแกะเก้าสิบเก้าตัวไว้ที่กลางทุ่งหญ้า และออกตามหาแกะหนึ่งตัวที่หายไป
ข้อ 5 ผู้เลี้ยงพบแกะตัวที่หาย ผู้เลี้ยงยกแกะขึ้นใส่บ่าด้วยความเปรมปรีดิ์
ข้อ 6 เมื่อมาถึงบ้านแล้ว ผู้เลี้ยงเชิญมิตรสหายและเพื่อนบ้านมาพร้อมกัน มาร่วมกันเปรมปรีดิ์
ข้อ 7 พระเยซูบอกว่า "แกะกลับใจใหม่"
อีกสักรอบนะครับ
- ผู้เลี้ยงออกตามหาแกะที่หลงหายไป
- ผู้เลี้ยงพบแกะ
- ผู้เลี้ยงแบกแกะขึ้นบ่าด้วยความปรีดี
- ผู้เลี้ยงเชิญมิตรสหายเพื่อนบ้านมาร่วมยินดี
- ผู้เลี้ยงบอกว่า "แกะกลับใจใหม่"
แกะกลับใจใหม่ตอนไหน และตรงไหนครับ??
ตลอดทั้งอุปมา ตั้งแต่ต้นจนจบ ผมเห็นมีแต่ผู้เลี้ยงเป็นฝ่าย solo อยู่ฝ่ายเดียว ผู้เลี้ยงทำทุกอย่าง
สิ่งเดียวที่แกะทำ ก็คือ ยอมให้ผู้เลี้ยงแบกเขาขึ้นบ่า
พระเจ้าทรงเรียก การที่แกะยอมให้ผู้เลี้ยงแบกเขาขึ้นบนบ่าว่า "การกลับใจใหม่ (Repentance)"
การกลับใจใหม่ จึงมิใช่ การร้องห่มร้องไห้ เสียงดัง ตีอกชกตัวแต่อย่างใด แต่คือการยอมให้พระเจ้าแบกเรา ส่วนของเรา ก็คือ การพักสงบในพระกำลังของพระองค์ แกะน้อยตัวนี้ พักสงบอยู่บนบ่าของผู้เลี้ยงของเขา
พี่น้องที่รักยิ่ง ความรอดของเรามั่นคงแน่นอน เท่ากับพระกำลังของพระเจ้า มิใช่เท่ากับแรงฮึดที่เรามีแต่อย่างใด ให้วันนี้ พวกเราเรียนรู้ที่จะพักสงบ บนบ่าอันแสนอบอุ่น และแข็งแรงของพระเยซู ให้พระองค์ได้แบกเราเดินไปตลอดเส้นทาง ขอบคุณพระเยซู ที่พระองค์ทรงเป็นพระผู้เลี้ยงที่แสนดีของเรา และพระองค์ทรงเป็นมาโดยตลอด ในหลายๆ ปี ที่เราได้มารู้จักกับพระองค์
ข้อ 6 เมื่อมาถึงบ้านแล้ว ผู้เลี้ยงเชิญมิตรสหายและเพื่อนบ้านมาพร้อมกัน มาร่วมกันเปรมปรีดิ์
ข้อ 7 พระเยซูบอกว่า "แกะกลับใจใหม่"
อีกสักรอบนะครับ
- ผู้เลี้ยงออกตามหาแกะที่หลงหายไป
- ผู้เลี้ยงพบแกะ
- ผู้เลี้ยงแบกแกะขึ้นบ่าด้วยความปรีดี
- ผู้เลี้ยงเชิญมิตรสหายเพื่อนบ้านมาร่วมยินดี
- ผู้เลี้ยงบอกว่า "แกะกลับใจใหม่"
แกะกลับใจใหม่ตอนไหน และตรงไหนครับ??
ตลอดทั้งอุปมา ตั้งแต่ต้นจนจบ ผมเห็นมีแต่ผู้เลี้ยงเป็นฝ่าย solo อยู่ฝ่ายเดียว ผู้เลี้ยงทำทุกอย่าง
สิ่งเดียวที่แกะทำ ก็คือ ยอมให้ผู้เลี้ยงแบกเขาขึ้นบ่า
พระเจ้าทรงเรียก การที่แกะยอมให้ผู้เลี้ยงแบกเขาขึ้นบนบ่าว่า "การกลับใจใหม่ (Repentance)"
การกลับใจใหม่ จึงมิใช่ การร้องห่มร้องไห้ เสียงดัง ตีอกชกตัวแต่อย่างใด แต่คือการยอมให้พระเจ้าแบกเรา ส่วนของเรา ก็คือ การพักสงบในพระกำลังของพระองค์ แกะน้อยตัวนี้ พักสงบอยู่บนบ่าของผู้เลี้ยงของเขา
พี่น้องที่รักยิ่ง ความรอดของเรามั่นคงแน่นอน เท่ากับพระกำลังของพระเจ้า มิใช่เท่ากับแรงฮึดที่เรามีแต่อย่างใด ให้วันนี้ พวกเราเรียนรู้ที่จะพักสงบ บนบ่าอันแสนอบอุ่น และแข็งแรงของพระเยซู ให้พระองค์ได้แบกเราเดินไปตลอดเส้นทาง ขอบคุณพระเยซู ที่พระองค์ทรงเป็นพระผู้เลี้ยงที่แสนดีของเรา และพระองค์ทรงเป็นมาโดยตลอด ในหลายๆ ปี ที่เราได้มารู้จักกับพระองค์
No comments:
Post a Comment